หน้า: 1 [2] 3
 
ผู้เขียน หัวข้อ: อันนี้ "ปวดหัว" ของจริง  (อ่าน 8343 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 ขาจร กำลังดูหัวข้อนี้
ฮ่ะ  ฮิ้ววว ~
บันทึกการเข้า

i'll walk until i find u.
ครับผม  โวย
บันทึกการเข้า

รับงานถ่ายภาพ
www.rpash.com
อ่านของหมอแมวแล้วค่อยรู้เรื่องขึ้นมาหน่อยนึง

แต่ก็ยืนยันคำตอบเดิมว่าไม่เหมือนกัน
ภาษาที่ใช้ในการพูด จะเรียบง่ายและกระชับกว่า
เพราะเราไม่จำเป็นที่จะต้องบรรยายสิ่งแวดล้อม
หรือชักจูงให้เกิดจินตนาการเท่างานเขียน
ที่ต้องปลุกเร้าให้เกิดอารมณ์ร่วม

 เว้นแต่การสื่อสารในระบบตอบโต้ถึงแม้จะเป็นงานเขียน
แต่ก็เน้นสั้น กระชับ และเข้าใจง่าย

ถ้าภาษาพูดเหมือนภาษาเขียน
เพชรพระอุมา คงมีแค่ครึ่งเล่มจบแน่ๆค่ะ
บันทึกการเข้า


พระเอกรักนางเอก เข้าป่า หาสมบัติ เจอ จบ  หมีโหดดดด
บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย

พระเอกรักนางเอก เข้าป่า หาสมบัติ เจอ จบ  หมีโหดดดด


บุญคำแอนด์เดอะแก๊งไม่ต้องเจอกันเลยเรอะ
บันทึกการเข้า
หยิ่ง ไม่อ่าน
บันทึกการเข้า

สะพรึบสะพรั่ง ณหน้าและหลัง ณซ้ายและขวา ละหมู่ละหมวด ก็ตรวจก็ตรา ประมวลกะมา สิมากประมาณ


ไม่เคยอ่านเพชรพระอุมา  หมีโหดดดด
บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย
  ผมกำลังเขียนในสิ่งที่ผมคิดครับ แต่ไม่ค่อยได้เอาไปพูด  ฮิ้ววว
บันทึกการเข้า

สู่ความโดดเดี่ยว อันไกลโพ้น
แม่ผมอ่านนนน  กรี๊ดดดดด
บันทึกการเข้า

รับงานถ่ายภาพ
www.rpash.com
ตาลายค่ะ  เห็นด้วยกับคุณ slaveofann  ค่ะ
พอมาอ่านที่แปลแล้วค่อยเข้าใจขึ้นมาบ้าง
หลังจากที่เขางอกอยู่นานสองนาน

ภาษาพูดกับภาษาเขียน  เหมือนกันตรงที่ใช้ในการสื่อสารเช่นกัน
ภาษาพูดกับภาษาเขียน ไม่เหมือนกันตรงที่รูปแบบในการนำเสนอ

ัปัจจุบันนี้ก็แยกไม่ค่อยออกเหมือนกันว่า อัีนไหนคือภาษาพูดอันไหนคือภาษาเขียน  กร๊าก
ส่วนมากที่เห็น ภาษาเขียนจะปรากฏอยู่ในวรรณกรรม วิทยานิพนธ์ หรืองานเขียนที่เป็นวิชาการ
ซึ่งเวลาอ่านแล้วต้องพยายามคิดตาม   
ภาษาพูดก็จะปรากฏอยู่ในนิตยสาร นิทาน หรือพวกงานเขียนที่ไม่เป็นทางการ  ( เอ่อ.. แล้วจะอธิบายไปทำไมเนี้ย  ง่ะ)
ซึ่งจะเข้าใจเนี้อหาได้ง่ายกว่า   เนื่องจากเป็นคำที่ใช้ทั่วไป
บันทึกการเข้า

แอบปั่นกระทู้ในที่ทำงาน... อย่าให้ใครจับได้หล่ะ
ผมขอเพิ่มเติมนิดหนึ่งครับ จาก คำแปลสิ่งที่ผมจู๋ไปของ หมอแมว

ดังนั้น ผมขอคัดค้านการใช้ภาษาวิบัติ และอยากให้ทุกคนตั้งใจในการเขียนให้มากขึ้น ให้การเขียนเป็น"การเขียน"จริงๆ

- ข้อพิจารณาในการอ่าน โปรดข้ามๆ สิ่งที่ ผมวงเล็บไว้ไปให้หมด

ผมไม่เคยคัดค้านการใช้ภาษาให้วิบัดิครับ ขอยกตัวอย่างนะ  ผมดูโฆษณาช่องเจ็ด แล้วมีดารามาอ่านบทละครให้ฟัง แล้วเงยหน้าขึ้นมาพูดว่า เรามาพูดภาษาไทยให้ชัดกันเถอะ (เพื่อความเป็นไทยหรืออะไรก็ตามแต่ - ผมใช้คำว่า "ความเป็น" นะ) ทันใดนั้นผมก็ขอให้เพื่อชาวอีสานใต้ลองพูดภาษาไทย (แบบของมัน) ให้ชัดดู แล้วมันก็ "แว่วเสียงสำเนียง อิสาน ปน ส่วย ออกมา" ...

ผมขอพูด (เขียน) เถอะนะ ไอ้การใช้ภาษาไม่ให้วิบัตินี่มันคืออะไร มันหมายความว่าอะไรได้บ้าง "ภาษาไทยมีภาษาเดียว(สำเนียงเดียว - ตรงนี้ผมเลือกที่จะไม่เว้นวรรค และถ้าเป็นไปได้ก็กรุณาอ่านข้ามไอ้ที่ผมวงเล็บไว้อย่าไปสนใจมันเลย)และอย่างอื่นก็เป็นภาษาอื่น" หรือ "ภาษาไทยพูดได้แบบเดียวและเป็นอย่างอื่นไม่ได้" หรือ "ถ้าพูดภาษาอื่นคุณก็ไม่ได้พูดภาษาไทย" (สังเกตุ - ผมจงใจใช้คำซ้ำ ๆ เพื่อตั้งคำถามว่า แล้วอะไรคือภาษาไทย ????) คุณเคยได้ยินภาษาที่ว่ากันว่าตายแล้วไหม นั่นล่ะความหมายของการไม่เหลืออะไรให้วิบัติกันแล้ว (ดังนั้นผมจึงยินดีวิบัติอยู่ต่อไป ขอยกตัวอย่าง เพราะบางที่คนที่อ่านสามารถที่จะรู้ได้ว่ามีอะไรที่ผมเขียนผิดไปอยู่)

ส่วนเรื่องคำแปล เป็นปลื้มครับ ชัดเจนมาก แต่เล่นซะสิ่งที่ผมแอบๆไว้หายไปหมดเลย และหนึ่งในนั้น

ผมคิดว่านี่เป็นชุมชนที่น่าจะเกี่ยวข้องกับการเขียนอยู่มาก

ท้ายสุด ผมคิดว่า สิ่งที่คุณ slaveofann ได้เปิดประเด็นไว้ และ ^-FakE-^  มาต่อ ยืนยันสิ่งที่ผมเสนอโดยตัวของมันเอง

"อ่านของหมอแมวแล้วค่อยรู้เรื่องขึ้นมาหน่อยนึง

แต่ก็ยืนยันคำตอบเดิมว่าไม่เหมือนกัน
ภาษาที่ใช้ในการพูด จะเรียบง่ายและกระชับกว่า
เพราะเราไม่จำเป็นที่จะต้องบรรยายสิ่งแวดล้อม
หรือชักจูงให้เกิดจินตนาการเท่างานเขียน
ที่ต้องปลุกเร้าให้เกิดอารมณ์ร่วม

เว้นแต่การสื่อสารในระบบตอบโต้ถึงแม้จะเป็นงานเขียน
แต่ก็เน้นสั้น กระชับ และเข้าใจง่าย

ถ้าภาษาพูดเหมือนภาษาเขียน
เพชรพระอุมา คงมีแค่ครึ่งเล่มจบแน่ๆค่ะ"

"พระเอกรักนางเอก เข้าป่า หาสมบัติ เจอ จบ"


อ่านซ้ำให้ดีครับ ทั้งหมดตรงนี้โดยตัวของมันเองคือสิ่งที่เขียน
บันทึกการเข้า

I am the real BANGKOKIAN.
Thus, this is my home town,but it is not mine (NEVER TO BE MINE).
ภาษาวิบัติแถวๆนี้คือ งัฟ คิคิ อิอิ ป๋ม นู๋ จร้า เง้อ .... แนวๆภาษาต่างดาว
ส่วนการพิมพ์ให้ถูกต้องทุกคำ ถือเป็นอาหารเสริม
ที่คนเข้ามาบ่อยๆสามารถเลือกบริโภค
บันทึกการเข้า
พรรณาโวหาร นะครับ

นั้นนะสรุป  ฮิ้ววว
บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐอักษรไทยขึ้นมาครับ

เป็นสิ่งที่แสดงถึงความเป็นไทยได้อย่างชัดเจน

ภาษาวิบัติในที่นี้ เรากำลังพูดถึง การผิดเพี้ยนโครงสร้างของคำ มิใช่ภาษาท้องถิ่น หรือ พูดเหน่อ ทองแดง

คุณกำลังหลงประเด็น

สวย  ซ๋วย  ษวย  ษ๋วย    ให้  ห้าย     ครับ  งัฟ  งับ งุงิ

มิใช่การปรับเปลี่ยน ในทางที่ดีขึ้น

มันน่าภูมิใจเหรอครับ


เคยได้อ่านจากที่ไหนสักแห่ง

เขาเปรียบเทียบว่าภาษาวิบัติมีที่มาจาก"โสเภณี"

เพราะเมื่อก่อนพวกคนขายบริการตามเน็ท เวลาหากิน ใช้คำตรงๆกันไม่ได้

ระบบจะกรองจะบล๊อกเวลามีคำแสลง สบถ หยาบออกมา จนพูดกันไม่รู้เรื่อง

เลยต้องหาทางสื่อสารกันไม่ให้ระบบจับได้

สุดท้ายเลยกลายมาเป็นภาษาวิบัติ

ซึ่งไม่รู้ว่าวันรุ่นสมัยใหม่ใช้บริการกันมากจนติด

หรือว่าเริ่มทำมาหากินกันจนชิน

เลยใช้กันเกลื่อนอย่างนี้

"เป็นการเปรียบเทียบ หาต้นตอได้สะอึกจริงๆ"



บันทึกการเข้า

กินรอบวง
วิบัติ ไม่ได้หมายถึง พยายามพูดสิ่งที่มีความหมายเดียวกันแต่คนละเสียง คนละคำเหรอครับ

ครับ --> คับ --> งับ --> งัฟ --> งุงิ
          ^          ^         ^     ^
           |           |           \     |
     กร่อนเสียง     คนละ        \   ได้ศัพท์ใหม่มา 1 ตัว
      กลายเป็น    ความหมาย   \
     ภาษาพูดไป  เริ่มแผลงคำ    \
                                            เพิ่มเสียงเฟอะห์
                                            เพื่อความแนว

ปล. เอมั่ว  ฮิ้ววว
         
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 23 ม.ค. 2007, 17:01 น. โดย ^-FakE-^ » บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย
หน้า: 1 [2] 3
 
 
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006-2007, Simple Machines | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!