หน้า: 1 2 [3] 4 5 6 7 8 9 10
 
ผู้เขียน หัวข้อ: เคมี  (อ่าน 50920 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 ขาจร กำลังดูหัวข้อนี้
เคยได้ยินมั้ย อ.ประกิตเผ่าอยู่ บนโลก หรือดวงจันทร์ก็มวลเท่าเดิม แต่ความหล่อเป็นอินฟินิตี้

เคย  ฮิ้ววว

เคยเรียนอุ๊ แล้วโดดกระจายเลย ตอนนั้นยังไม่ได้เลือกสายแบบจริงจัง  หน้ามึน
บันทึกการเข้า

there are no regrets in life, just lessons . .
 มึนตึ้บ งง ไม่ได้เรียนเคมีมา ไม่รุ้เรื่องเลย


แถมอาจารย์ก็ไม่ได้หล่อที่สุดในโลกอย่าง อ. ประกิตเผ่าอีก  ฮิ้ววว

เคยได้ยินมั้ย อ.ประกิตเผ่าอยู่ บนโลก หรือดวงจันทร์ก็มวลเท่าเดิม แต่ความหล่อเป็นอินฟินิตี้

จริง อ.แกหล่อจริง  ปลื้ม
บันทึกการเข้า

นานๆ จะเข้ามาที
และก็จริงตามที่หมอแมวว่า เราต้องเอาไดโนเสาร์ออกให้หมดกระทรวงก่อน  ฮิ้ววว
เข้าใจผิดแล้วครับ ผมไม่ได้ว่าคนในกระทรวงเลย
คนที่ได้ผลประโยชน์ ล้วนแต่เป็นนักเรียนที่ไปเรียนกับอาจารย์อุ๊ต่างหาก
 ฮิ้ววว

บันทึกการเข้า

ฝันซ่อนสับสนวุ่นวาย หย่อนคล้อย

ผมว่าไม่มีทางหรอกครับ ไดโนเสาร์ มันจะออกไปอยุ่ไหนได้ ในเมื่อกระทรวงเป็นโลกร้านปีที่น่าอยู่....


แต่ผมหมายความตามนี้จริงๆนะ  กรี๊ดดดดด
บันทึกการเข้า

ล้ำลึกคนึงหาในดวงจิต ใจเคยคิดตัดสวาทมิอาจสิ้น
ดั่งก้านบัวหักกลางชลาสินธุ์ ผิว่าสิ้นไร้เยื่อยังเหลือใย
อนุภาคมูลฐานของอะตอม

อิเล็กตรอน 
- ประจุไฟฟ้า(-) 1.602 x 10-19 คูลอมบ์
- มวล 9.11 x 10-28 กรัม

โปรตอน
- ประจุไฟฟ้า(+) 1.602 x 10-19คูลอมบ์
- มวล 1.673 x 10-24 กรัม

นิวตรอน
- ประจุไฟฟ้า(0) 0 คูลอมบ์
- มวล 1.675 x 10-24 กรัม


สำหรับผมแล้ว อ.บอกว่า อิเล็กตรอนมันมวลน้อยมาก
เวลาคิดไม่ต้องไปคิดมัน ยึดถือเอานิวเคลียสเป็นสรณะก็พอ

 หน้ามึน
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 12 พ.ย. 2006, 22:14 น. โดย tao » บันทึกการเข้า

งั้นให้ อ. อุ๊ ไปอยู่ในกระทรวงแทนจะได้ผลประโยชน์กันถ้วนหน้า  ฮิ้ววว
บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย
หน้ามึน

ยังตามมาหลอกหลอนถึงนี่อีก
บันทึกการเข้า
ผมยังเชื่อว่าคนที่ทำงานราชการ ถ้าไม่ได้มีการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง ต่างก็เป็นนักการศึกษาที่ต้องการเห็นการศึกษาไทยก้าวไปข้างหน้ากันทั้งนั้น

ถ้าอยากรู้เรื่องการศึกษาไทยกับการเรียนพิเศษ ลองเอาไปโพสในเด็กดีสิ โดยใช้Keyword
 เด็กกรุงเทพ เด็กต่างจังหวัด รวย จน ขยัน ขี้เกียจ เรียนพิเศษ
ถ้าใช้คำดังกล่าวครบ ก็จะได้กระทู้ชวนทะเลาะกันขึ้นมา...  เป็นการยืนยันว่าเรื่องนี้มีผลประโยชน์ของนักเรียนจริงๆ
บันทึกการเข้า

ฝันซ่อนสับสนวุ่นวาย หย่อนคล้อย
บางคนก็ไม่ครับ
จากประสบการณ์จริง

หน้ามึน
บันทึกการเข้า

เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน

ทอมสัน ทดลองเกี่ยวกับอนุภาคแยกย่อยในอะตอมลงไปอีก
โดยใช้หลอดรังสีแคโทด ในการทดลอง

หลอดรังสีแคโทดเป็นหลอดสูญญากาศ ภายในมีโลหะสองขั้ว
ขั้วลบคือ แคโทด
ขั้วบวกคือ แอโนด
เมื่อให้ไฟฟ้าศักย์สูง (10,000 โวลท์) จะเกิดรังสิพึ่งจากแคโทดไปแอโนด
เรียกว่ารังสีแคโทด

ทอมสันดัดแปลงทดลอง โดยเจาะรูที่ขั้วแอโนด ใส่ฉากเรืองแสงเข้าไปข้างหลัง
และติดตั้งขั้วไฟฟ้าในแนวดิ่งดังภาพ


พบว่ามีจุดสว่างเกิดขึ้นที่ฉากเรืองแสง และเบี่ยงเบน
เข้าหาขั้วบวก (รังสีแคโทดสีชมพู)

ทอมสันคำนวนหาค่าประจุต่อมวลของอนุภาคดังกล่าว
และสรุปว่าอะตอมทุกชนิดมีอนุภาคประจุลบเป็นองค์ประกอบ
และเรียกมันว่า อิเล็กตรอน

...


เต่า ขอให้อ่านดีๆ นะ

อันที่เต่าโพสต์คือสิ่งที่ครูสอนใช่มั้ย เรารู้ว่าใช่เพราะนั่นคือสิ่งที่ครูสอนเราเหมือนกัน เราก็ได้แต่มองหนังสือเรียนผ่านๆ ปล่อยคำพูดของครูลอยเข้าสมองไป

แต่เพิ่งไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมานี้ จาน(ใช้คำเรียกต่างกันเพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นคนละคน) บอกเราว่า "  ทอมสันไม่เคยพูดว่าอะตอมของเขาเป็นอนุภาคทรงกลมที่มีประจุบวกและประจุลบกระจายอยู่ภายใน ในจำนวนที่เท่ากัน " (อ้าวหอก กูเรียนมายังงี้นี่หว่า) "แต่เขาพูดว่า อะตอมของเขาเป็นทรงกลมประจุบวกที่มีอนุภาคประจุลบอยู่ภายใน" เหมือนกับ ถ้าแตงโมเป็นอะตอม เมล็ดแตงโมก็เป็นอิเล็กตรอน

"...." กำลังจะเถียง ในหนังสือเรียนตูไม่ได้เป็นงี้นี่หว่า
"หนังสือเรียนเคมี ของสสวท. ปรับปรุงเนื้อหาแล้วค่ะ"
ก็เลยต้องสงบปากสงบคำไปเปิดหนังสือ

ปรากฏว่าจริง (ไม่เชื่อลองเปิด)
แล้วตูสอบผ่านมาได้ไงวะ ฮือๆ~


ปล. เหมือนจู๋ระบายอารมณ์เลยว่ะ
ปล. ถ้าเอ็งเข้าใจเหมือนตูหะแรก ก็ขอให้เข้าใจใหม่
ปล. ถ้าเอ็งเข้าใจตั้งกะแรกแล้ว ตูก็หน้าแตก  หน้าแตก
ปล. ไม่ต้องบอกตูว่าละโว้ ขอร้อง

//เฮี้ยก ตัดหน้า 8 คน
บันทึกการเข้า

อันเก่ามันผิดครับ

ทอมป์สันบอกว่าเป็นประจุบวกแล้วมีประจุลบแทรกอยู่  ง่ะ
http://en.wikipedia.org/wiki/Plum_pudding_model
บันทึกการเข้า
 ยิ้มน่ารัก
ตูเรียนโมเดิร์นฟิสิกส์มา
อาจารย์ก็สอนแบบที่บุ๊คบอกน่ะ

อ๊ะ นี่ตูไม่ได้อยู่มอปลายนะ
บันทึกการเข้า

ที่สุดถ้ามันจะไม่คุ้ม
แต่มันก็ดีที่อย่างน้อยได้จดจำ
ว่าครั้งนึงเคยก้าวไป...


สมัยที่เรียนยังไม่โมเดิร์น  เกย์แอบ
บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย
เออ นั่นล่ะๆ พุดดิ้งลูกเกดนั่นล่ะ เจ๋ง

แล้วก็อีกอย่างนะเร่ ตูพูดภาษาปะกิดบ๊งเบ๊งได้ แต่อ่านยาวขนาดนั้นไม่ได้ (ถ้าไม่ใช้มายบัดดี้ช่วย) ฮือๆ~
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 12 พ.ย. 2006, 22:28 น. โดย B••k » บันทึกการเข้า

ที่มามันมีอยู๋คือว่า ครั้งแรกที่เขาเสนอ เป็นช่วง 1899 เสนอแบบที่มีเท่ากัน
ต่อมา 1904 เสนอแบบที่สอง

ดูอันนี้ก็ได้
http://dbhs.wvusd.k12.ca.us/webdocs/AtomicStructure/Thomson-Model-Intro.html
แถมคนเขียนบทความ มีการเหน็บอีกว่า
"Before leaving this topic, I want to make a point about how the Thomson Model is presented today. Sometimes teachers, and even textbooks, will represent the Thomson Model as a mixture of protons and electrons, like on the right-hand side of this image:"
ก่อนจะละสายตาจากบทความนี้ ผมอยากชี้ประเด็นหนึ่งเกี่ยวกับโมเดลอะตอมของทอมสันที่รู้จักกันในสมัยนี้ บางครั้ง อาจารย์ หรือแม้แต่หนังสือเรียนได้นำเสนอรูปแบบอะตอมของทอมสันเป็นทรงที่ประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเลคตรอนเหมือนรูปด่้านขวานี้


The Thomson Model has negative partices (electrons) and a sphere of positive charge. There are NO protons in the Thomson Model of the atoms. Be careful, a teacher might try to trip you up on a test question. (Those teachers sure are evil, aren't they??)
อะตอมของทอมสัน มีประจุลบอยู่ภายในทรงกลมประจุบวก โดย ไม่มี โปรตอนอยู่ภายในตัวอะตอมของทอมสัน ระวังให้ดี อาจารย์บางคนอาจลองจัดการคุณในคำถามทดสอบ
บันทึกการเข้า

ฝันซ่อนสับสนวุ่นวาย หย่อนคล้อย
หน้า: 1 2 [3] 4 5 6 7 8 9 10
 
 
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006-2007, Simple Machines | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!