ต่อด้วยการค้นพบ นิวตรอน
...
ลอร์ดเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ดรัทเทอร์ฟอร์ด(ชาวอังกฤษ) ร่วมกับ ฮันส์ ไกเกอร์(เยอรมัน)
ได้ศึกษาและพิสูจน์แบบจำลองอะตอมของทอมสันเมื่อปี พ.ศ. 2454
โดยการยิงอนุภาคไปยังแผ่นทองคำบางๆ
ใช้ฉากเรืองแสงเคลื่อบด้วย ซิงค์ซัลไฟด์ โ้ค้งเป็นวง
จากการทดลองพบว่า

อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่ วิ่งผ่านไปที่ฉากเรืองแสง
บางส่วนหักเหจากการชนอะไรบางอย่าง
และบางสว่นน้อยนิดสะท้อนกลับมา
ตา รัทเทอร์ฟอร์ด บอกว่า
มวดของอิเล็กตรอนนั้นน้อยมาก เมื่อเจออนุภาคแอลฟาชนก็ผ่านไปสบายๆ
จึงจะต้องมีอนุภาคที่ใหญ่กว่าและมีประจุบวก อยู่แน่นอน
รัทเทอร์ฟอร์ดจึงเสนอแบบจำลองอะตอมมาให้พวกเราท่องบ่นอีกอันดังนี้

อะตอมประกอบด้วยพื้นที่ว่างจำนวนมาก
มีนิวเคลียสซึ่งมีประจุเป็นบวกอยู่ตรงกลาง
และมีอิเล็กตรอนวิ่งรอบๆ
...
เซอร์เจมส์ เซดริกในปี พ.ศ. 2475 (คณะราษฎรปฏิรูปการปกครอง)
เอ้ย
เซดริกได้ทดลองยิงอนุภาคแอลฟาใส่อะตอมธาตุต่างๆ อย่างสนุกสนาน
และทดสอบด้วยเครื่องอะไรก็ไม่รู้ที่มันแม่นยำมากๆ (หนังสือมันว่างั้นแหละ)
พบว่าในนิวเคลียสมีประจุที่มีค่าเป็นกลางทางไฟฟ้า
และเรียกมันว่า
นิวตรอน