หน้า: [1] 2
 
ผู้เขียน หัวข้อ: เอาฟอนต์ที่นี้ไปใช่มีปัญหาอะไรไหม  (อ่าน 6628 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 ขาจร กำลังดูหัวข้อนี้
 :40:ต้องขอท้าวความตั้งแต่อัลเบิร์ดไอไตล์ผลิตหลอดไฟได้สำเร็จ(จะยกของไทยแต่กลัวไปลบหลู่เลยไม่เอาดีกว่า)... รู้สึกว่าย้อนยาวไปนิด เอาเป้นจะถามว่า ถ้าเอาฟอนต์ที่นี้ไปใช้งาน ในที่ทำงานจะมีปัญหาไหม เพราะว่าเด๋วนี้มันมีเรื่องลิขสิทธิ์ขึ้นมา การประดิษฐ์ฟอนต์ก็มีจึงเกรงว่าถ้าหากโหลดไปใช้กลัวเกิดการฟ้องร้องขึ้นมา ...ถ้าท่านผู้นำจะออกพระราชกำหนดอะไรขึ้นมาแก้ไข ช่วยประกาศทราบด้วยครับ
**ปล. ไม่มีไรปล.ไปงั้นละ
บันทึกการเข้า
เอาไปใช้ได้ แต่เอาไปขายโดน ครับ
บันทึกการเข้า

นักเขียนการ์ตูนรายปี
อัลเบิร์ดไอไตล์ผลิตหลอดไฟ

มุกหรือมั่วครับ

 ฮิ้ววว
บันทึกการเข้า

กินรอบวง
 กร๊ากกกก
บันทึกการเข้า

นักเขียนการ์ตูนรายปี
มั่วครับ โทมัส อัลวา เอดิสัน เป็นผู้พัฒนาหลอดไฟฟ้าให้เป็นที่นิยมในอเมริกา

ส่วนประวัติหลอดไฟก็ http://en.wikipedia.org/wiki/Light_bulb#History_of_the_light_bulb


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 03 พ.ย. 2006, 12:57 น. โดย นักสืบ » บันทึกการเข้า
มั่วครับ จำผิด ลงไปทานข้าวนึกได้เอ้อว่าจำผิดนี้หว่า คนนี้ผลิตปรมณู
**ปล. ผิดไปแล้วผิดไปแล้ว แต่ก็ยังยืนยันว่าฉันไม่ได้ตั้งใจ
บันทึกการเข้า
ก็ยังมั่วอีกอยู่ดีแหละครับ ....


ช่างเหอะ แล้วผมจะจับผิดชาวบ้านเค้าทำไมเนี่ย  ไอ้มืดหมี

ล้อเล่นนะฮ้า  เกย์ออก
บันทึกการเข้า
ยังผิดอีกรึครับ  (เหงื่อแตกพลั่ก) ผมว่าผมก็ไม่ได้ตกวิทย์นี้นา เอ้หรือว่าไม่ได้ใช้นาน สงสัยต้องดูเมกาเคเวอร์บ่อยๆซะละ
บันทึกการเข้า
ไอน์สไตน์แค่เสนอทฤษฏีสัมพันธภาพน่ะครับ ส่วนคนที่ผลิตระเบิดเป็นทีมนักวิทยาศาสตร์ในประเทศต่างๆ
บันทึกการเข้า
ซึ่งไอสไตน์ก็ไม่ได้อยากให้สมการของเขาเป็นต้นกำเนิดไอ้หนูนั่นเลย
บันทึกการเข้า

เอาไปใช้ได้ แต่เอาไปขายโดน ครับ

เต็มพันทิพย์เลย  กรี๊ดดดดด
บันทึกการเข้า

ตามหารักแท้ค่ะ โฮกกก
ไอน์สไตน์แค่เสนอทฤษฏีสัมพันธภาพน่ะครับ ส่วนคนที่ผลิตระเบิดเป็นทีมนักวิทยาศาสตร์ในประเทศต่างๆ


"สัมพัทธภาพ" ครับ




(เอ้า เป๋กันเข้าไป)
บันทึกการเข้า

ทำมาหากินด้วยการเปิดร้านสกรีนเสื้อยืด จ้ะ
...กราบ... ไหว้

///ไหนๆก็เป๋แล้ว


ทฤษฎีนี้มีชื่อว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Relativity) ครับ ไม่ใช่ ทฤษฎีสัมพันธภาพ (Relationship) ข้อนี้เจอบ่อยมาก (เพราะว่า relative = สัมพัทธ์ = เทียบกัน ส่วน relation = สัมพันธ์ = เกี่ยวข้องกัน)

เนื่องจากชื่อของทฤษฎีนี้ ทำให้มักเข้าใจผิดกันว่า “ตามทฤษฎีนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสัมพัทธ์ (relative)” จุดนี้สำคัญนะครับ เพราะทำให้ประเด็นใหญ่ในทฤษฎีนี้หายไป เพราะแม้ไอน์สไตน์จะพบว่า ตำแหน่ง เวลาที่ผ่านไป มวลที่สังเกตได้ ขนาดที่วัดได้ และปริมาณอีกจำนวนหนึ่งเป็นสัมพัทธ์ (คือ แล้วแต่ใครมอง) แต่อัตราเร็วของแสง มวลนิ่ง (rest mass) ความยาวขณะอยู่นิ่ง (rest length หรือ proper length) และปริมาณอีกจำนวนหนึ่งเป็นปริมาณที่ใครๆ ก็ตาม (ไม่ว่าจะวิ่งอยู่ หรือ อยู่นิ่ง) จะวัดได้เท่าๆ กันหมด ซึ่งแบบนี้ไม่ใช่สัมพัทธภาพ แต่เป็น ความไม่แปรเปลี่ยน (invariance) ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของทฤษฎีของไอน์สไตน์เช่นกัน

credit: http://www.se-ed.com/update/183/letter.htm


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 04 พ.ย. 2006, 02:33 น. โดย นักสืบ » บันทึกการเข้า
.......................... ฮิ้ววว

บันทึกการเข้า

ที่สุดถ้ามันจะไม่คุ้ม
แต่มันก็ดีที่อย่างน้อยได้จดจำ
ว่าครั้งนึงเคยก้าวไป...
ฟอนต์ผมจะเอาไปทำอะไรก็ได้ครับ

ขออย่างเดียวครับ อย่าเอาไปขายต่อ....

แค่นั้นพอ...

 ฮือๆ~
บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2
 
 
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006-2007, Simple Machines | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!