หน้า: 1 2 [3] 4 5 6 7 8 9 10 ... 12
 
ผู้เขียน หัวข้อ: กลเม็ดใช้ Typo ให้เป็นผู้ดีมีสกุล  (อ่าน 136211 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 ขาจร กำลังดูหัวข้อนี้
เคยเห็นบ่อยพวกเอาตัวหนังสือมายืดๆ หดๆเสี่ยวๆ  หมีโหด~
จริงๆน่าจะเป็นความรู้พื้นฐานของคนออกแบบเนอะ ว่าอะไรควรไม่ควรกับตัวหนังสือ
พอดีไม่ได้เรียนเลยไม่รู้ว่าเค้าสอนรึเปล่า  กร๊าก
บันทึกการเข้า

เพิ่งเห็นที่ Edit ในโพสต์ก่อนที่เป็นเรื่องการหกยืดฟอนต์
เจอโคตรบ่อยเลยครับ ฮ่าๆ ฮือๆ
บันทึกการเข้า

ทำมาหากินด้วยการเปิดร้านสกรีนเสื้อยืด จ้ะ
9. แม่หม้าย ลูกกำพร้า ..... Widows and Orphans

ระวังเรื่องการตัดบรรทัดใหม่ การทิ้งบรรทัดสุดท้าย







ลูกกำพร้า คือ คำ 1 คำ ที่ตกไปอยู่ในบรรทัดสุดท้ายของพารากราฟ ควรเลี่ยงอย่าให้เกิด

แม่หม้าย คือ บรรทัดเดียวบรรทัดสุดท้าย ของพารากราฟสุดท้ายไม่สามารถจบในคอลัมน์ของตัวเองได้
ต้องข้ามไปจบที่อีกคอลัมน์ หรืออีกหน้านึงถัดไป ทำให้ไม่สวยงาม
หรือการขึ้นพารากราฟใหม่ที่ปลายสุดคอลัมน์
ซึ่งเหลือพื้นที่พอสำหรับแค่บรรทัดเดียว แล้วข้ามไปต่อบรรทัดใหม่ที่อีกคอลัมน์ ทำให้หัวพารากราฟเคว้งคว้างยิ่ง
ก็จะกลายเป็น อะไรเอ่ยยยย ไม่เข้าพวก ไปได้  หื่น หื่น

ลองดูงานของท่านให้ดีๆ เคยเข้าข่ายพวกนี้มั๊ย

วิธีแก้ไขง่ายๆ คือใช้คำสั่ง คีป ออปชั่น (InDesign)

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2010, 19:44 น. โดย itemsafety » บันทึกการเข้า

เปลี่ยนแนวคิดเพื่อการใช้ Typography ให้ถูกต้องตามหลักสากล
เขียนหนังสือขายเถอะพี่ ผมจะซื้อ!!
บันทึกการเข้า

ตามมาบวกเรื่อยๆ เท่าที่จะนึกออก  กรี๊ดดดดด
บันทึกการเข้า
10. ส่งสำเนียงให้เหมือนเจ้าของภาษา

บ่งชู้ร์ ดัดจริตทั้งที ขอให้มีกลิ่นของเขาให้เต็มที่ อย่ากั๊กๆ
ท่านใดพิมพ์ภาษาที่มีเครื่องหมาย แอคเซนท์ ต่างๆ ควรใช้ให้ถูกตามเจ้าของภาษา
เลือกใช้ฟอนต์ที่สามารถส่งสำเนียงภาษาของชาติเขาให้ได้ อย่าให้ขายหน้า

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 09 ธ.ค. 2010, 22:32 น. โดย itemsafety » บันทึกการเข้า

เปลี่ยนแนวคิดเพื่อการใช้ Typography ให้ถูกต้องตามหลักสากล
11. ตรวจทานหน่อยยยยยยย

ทำงานออกแบบ การพิสูจน์อักษรก็จำเป็นมากกกกกกกกกก
บางทีจะใส่ Drop Cap ก็ระวังกันหน่อยยยยยยย ถ้าพลาดก็จะอายระดับประเทศ
ตอนนี้หนังสือพิมพ์นี้ก็โดนเบลมไปทั่วเฟซบุคแล้ว 555555555+

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 พ.ย. 2010, 17:40 น. โดย itemsafety » บันทึกการเข้า

เปลี่ยนแนวคิดเพื่อการใช้ Typography ให้ถูกต้องตามหลักสากล
 กร๊าก
บันทึกการเข้า

Reading Learning & Sharing
12. กฎทอง 3 ตัวพิมพ์



ข้อนี้แค่อยากจะบอกว่า งานออกแบบเชิงจัดหน้าที่ดี ไม่ควรใช้ตัวพิมพ์เกิน 3 รูปแบบ
อย่าโลภอัดฟอนต์ทุกสิ่งที่มี อยู่ภายใน หน้าเดียว ทั้งนี้ก็ขึ้นกับสถานการณ์เช่นกัน
ว่าจะใช้ฟอนต์ผสมกันอย่างไรให้กลมกล่อม

ง่ายๆ เลือกฟอนต์สัก 2 ตระกูล ตัวโปรย (ธรรมดา/หนา) และตัวดิสเพลย์เพื่อให้น่าสนใจ ก็พอแล้ว



อ่านเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มแนวคิด
http://www.smashingmagazine.com/2010/11/04/best-practices-of-combining-typefaces/
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 13 ธ.ค. 2010, 00:34 น. โดย itemsafety » บันทึกการเข้า

เปลี่ยนแนวคิดเพื่อการใช้ Typography ให้ถูกต้องตามหลักสากล
สุดยอดของพื้นฐานที่หลายๆ คนมักมองข้าม  เจ๋ง
บันทึกการเข้า

perfectionist
ตามบวกไม่หยุดหย่อน กรี๊ดดดดด กรี๊ดดดดด
บันทึกการเข้า
11. ตรวจทานหน่อยยยยยยย

ทำงานออกแบบ การพิสูจน์อักษรก็จำเป็นมากกกกกกกกกก
บางทีจะใส่ Drop Cap ก็ระวังกันหน่อยยยยยยย ถ้าพลาดก็จะอายระดับประเทศ
ตอนนี้หนังสือพิมพ์นี้ก็โดนเบลมไปทั่วเฟซบุคแล้ว 555555555+




FAIL กร๊าก กร๊าก กร๊าก กร๊าก

ปล. ผมเคยจัดหน้า แล้วเจอ"หีบ" แบบนี้ ก็เลยเอามาทั้ง"หีบ" ดูพิลึกน่าดู
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 พ.ย. 2010, 18:22 น. โดย Layiji » บันทึกการเข้า

นักเขียนการ์ตูนรายปี
13. อย่าใช้ฟอนต์ตามแฟชั่นอย่างเดียว ดู Mood & Tone ของงานด้วย

อันไหนสาปเล่นๆ อันไหนสาปจริง แค้นจริง



บางทีเรามีฟอนต์ใหม่เยอะมาก อยากจะใช้ ก็ดูหน่อยว่า มันเข้ากับเนื้อหาของงานที่ต้องการจะสื่อ
หรือเปล่า ไปกันได้กับภาพประกอบไหม

การเลือกใช้แบบตัวอักษรเป็นรสนิยมส่วนตัว อาศัยประสบการณ์ การสังเกต
จงใช้ความจำให้เป็นประโยชน์ ดูงานของคนอื่นก็ลองดูว่าเขาใช้ฟอนต์ได้เหมาะสมไหม
อะไรดีก็จำมาประยุกต์ใช้ อะไรไม่เข้าท่าก็จงจำไว้ อย่าเอาเป็นเยี่ยง

ตัวอย่างดูได้จากกระทู้นี้ เป็นต้น  ลันล้า ลันล้า
http://www.f0nt.com/forum/index.php/topic,18199.0.html
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 29 พ.ย. 2010, 15:22 น. โดย itemsafety » บันทึกการเข้า

เปลี่ยนแนวคิดเพื่อการใช้ Typography ให้ถูกต้องตามหลักสากล
แปะ  กรี๊ดดดดด
บันทึกการเข้า

เจ๋งโคตร  กรี๊ดดดดด
บันทึกการเข้า

รับงานถ่ายภาพ
www.rpash.com
หน้า: 1 2 [3] 4 5 6 7 8 9 10 ... 12
 
 
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006-2007, Simple Machines | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!