หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 [8] 9
 
ผู้เขียน หัวข้อ: จินไตย-จินตนาการและความรู้  (อ่าน 34210 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 ขาจร กำลังดูหัวข้อนี้
โต้รุ่ง เห็นแสงแล้ว ถึงเวลานอนแล้วสิ  หน้ามึน

ไอ่คนชวนอ่านหนังสือโต้รุ่งหลับกันหมด  ง่ะ

(เวิ่นเว้อ - ปั่นอำลา ดึกๆเจอกันครับ)
บันทึกการเข้า

ชื่อ Earth ครับ เรียกเอิดก็ได้ | Earthchie's Blog
มนตด ก็ อจินไตย  ซะเยอะ พี่ โวย

แรงหลักมี 4อย่าง เด้อ
1. แรงโน้มถ่วง (หรือแรงดึงดูดฟะ งง กะ 2อย่างนี้จัง)
2.แรงแม่เหล็กไฟฟ้า
3.แรงเข้ม
4.แรงอ่อน

จริงๆ ถ้าเราถูกดูดกันจริง ไม่ฉีกหรอกแว่บเดียว แหละ พอดีคุยถึงว่า สมมุติว่าสโลโมชั่นกันได้
งั้นผม ขอบอกว่า ภายในเวลาเศษเสี้ยวของแว่บเดียว(เร็วแสง) ทั้งเอิร์ธ และผม คงตายไม่ต่างกันแน่ๆ(เวลา)  กร๊าก

ไอ้แรง4อย่างข้างต้นนั้นแหละ พอดีไม่มีอย่างใดอย่างนึงกระทำอย่างเดียวนี่น่า เวลาถูกดูด จริงมะ  หมีโหด~

4แรงหลัก เนี้ยแหละ จะตั้งนิยาม1เดียวว่าอะไร ปัจจุบันเขาพยายามหาคำตอบอยู่ นะเออ

เปลี่ยนชื่อกระจู๋เป็น อจินไตย ซะเลย ดีมะ ครบทั้ง UFO+เอกภพ ความตื่นรู้ กฎฟิสิกส์ ความรู้ของผู้รู้ ไปเลย

และ

เบิ้ล

ทำความเข้าใจก่อน
เรื่องหัวข้อกระจู๋ นี้
เกิดมาจาก ในวัฒนธรรมของไทย มีสูตรที่เรียกว่า อจินไตย 4
ผมใช้คำว่าวัฒนธรรมจริง แต่ อจินไตย4 มาจากการตีความของท่อนนึงในพุทธศาสนา
*ขอย้ำว่าไม่มีเจตนา ในการลบหลู่พระศาสนาใดๆ เพียงแต่ว่า หากไม่มีการวิเคราะห์ สิ่งที่บัญญัติไว้ใน อจินไตย4
เทคโนโลยีจะหยุดค้าง (สาเหตุเพราะยึดติดกับ สูตรอจินไตย ทั้งๆที่พระศาสดา มิได้ให้ยึดติดงมงายในสิ่งใดเลย)
ขอยกสูตรอจินไตย4 ขึ้นมาอธิบาย

อจินไตย4 สิ่งที่ไม่ควรสนใจ 4 อย่าง
1.พุทธะ - การตื่น(ขึ้นมารับ)รู้  พุทธวิสัยไม่ควรสนใจ(ตื่นยังไง) ไม่ต้องเอามาคิดว่าพุทธคืออะไร(ตื่นคืออะไร)
รวมถึงความเป็นมาของพระพุทธเจ้า และสภาวะทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการตื่นของความรู้ อันสว่างไสว
2.ฌานะ - การเพ่งพิจพินิจพิเคราะห์ การวิเคราะห์อย่างเต็มที่ ตั้งใจ โดยสนใจอย่างยิ่ง จดจ่อ การทดลองทางวิทยาศาสตร์
(เพราะต้องสนใจ พินิจพิเคราะห์) คือสิ่งไม่ควรสนใจ
3.กรรมะ - การที่สรรพสิ่งกระทำต่อกัน (อันนี้คล้ายฟิสิกส์อย่างยิ่ง) สิ่งใดกระทำกับสิ่งใด ใครกระทำกับใคร ไม่ควรสนใจ
4.โลก - สรรพสิ่ง ไม่ควรสนใจ คำว่าโลกครอบรวมถึงทุกอย่างในสากลจักรวาล เรียกรวม เอกภพทั้งหลายว่า โลกธาตุ ไม่ควรสนใจ

 ถ้ามีการตีความแค่นี้ รับรอง ไม่มีคนไทย(ที่เชื่อแค่นี้) สนใจวิทยาศาสตร์เลย เพราะคลุมหมดถึงทุกอย่างที่มนุษย์ควรค้นคว้า ปฏิบัติ
มีบางกลุ่มไม่ใส่ใจอะไรเลย พอมีการค้นคว้าค้นพบอะไรใหม่ที่จะขับดันความเป็นอยู่ได้ ก็จะบอกว่า "อจินไตยๆ"

 ผมไม่อยากให้คิดเป็นในแง่ศาสนา นะครับ ผมเชื่อว่า คำสอนพระพุทธองค์ ไม่สามารถนำสูตรใดสูตรนึง เป็นสำเร็จรูป(มาม่า)
ได้ แต่ก็มีคนเชื่ออย่างนั้น และปฏิเสธวิทยาการ อยู่จริงๆ แต่ก็ไม่เอาเรื่อง ธรรมะ ด้วย(ธรรมะ-พื้นฐานของสรรพสิ่ง)

ผมเลยเรียกมันว่า(ประชด) 4อย่างที่คนไทยไม่เอา ความตื่นรู้,ความรู้ของผู้รู้,ฟิสิกส์,สรรพสิ่ง ไม่เน้น ไม่ค่อยสนใจ
ด้วยการแปลความหมายแค่ อจินไตย4 แล้วสรุป เชื่อตามๆกัน อย่างงมงาย กลายเป็นพื้นฐานสังคม


มาว่าเรื่อง ทฤษฏีสัมพัทธภาพ กันบ้าง (Theory of Relativity)

 ก่อนอื่น เรามักจะเรียกชื่อกันผิดๆ เป็น สัมพันธภาพ(สำพันทะพาบ) จริงๆแล้วคือ สัมพัทธภาพ(สำพัดทะพาบ)
มันต่างกันนะครับ เพราะจะออกทะเลได้เลยถ้าเข้าใจชื่อผิด
คือ การวัดผลอะไรก็ตามต้องวัดผลด้วยอะไรเทียบเคียงเสมอ
เช่น เราวัดความสูงด้วยไม้เมตร ถนนยาวด้วยหลักกิโลเมตร ที่1ได้เพราะมีที่2
เราไม่สามารถวัดผลอะไรด้วยการเอาตัวเองมาเป็นมาตราวัด(เพราะสุดท้ายตัวเราก็ต้องเอาสักอย่างที่เข้าใจมาวัด)

ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ (Special Theory of Relativity)
 เป็น ตัวเสริม ของ ทฤษฏีสัมพัทธภาพ ที่ออกตามมาภายหลัง (คล้ายๆ แพทเสริมของเกม)
1.กฎต้องอ้างอิงในสมการทุกกรอบ ในลักษณะเดียว (รูปเดิม)
2.ความเร็วของแสงมีค่าคงที่

นึกไม่ออกแล้ว ใครอยากเสริมอยากแก้อะไรว่ามา  หมีโหด~

ดังนั้น

 เรื่องนึงที่อยากจะขอให้ช่วยนะครับ
อยากให้ ชื่อของกระจู่นี้ เป็น จินไตย มากกว่า
เพราะชื่อนี้ในปัจจุบัน เป็นคำที่ลงไปได้ไม่ครบ
เรื่องน่าสนใจ จินไตย-จินตนาการและความรู้

ดีกว่านะครับ ขอร้องเถอะ
ส่วนมันจะร่วงไปก็ยังดีกว่าปล่อยไม่เสร็จ
บันทึกการเข้า

ไม่ว่าคุณจะรอบรู้ เก่งกาจ กล้าหาญ เท่าไหร่ ก็ไม่มีค่าอะไร ถ้าไม่มีใครรักคุณ
ขอแก้เพิ่มเติมนิดนึงครับ เรื่องการปล่อยดาวเทียมออกจากโลก
อ่านเจอหน้าแรกๆ แล้วมันติดใจอยู่นิดหน่อย

โลกเรามีความเร่งที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงกระทำต่อวัตถุที่ค่าประมาณคือ 9.9 กว่าๆ เมตร ต่อวินาทีกำลังสอง
เพราะฉะนั้น การจะปล่อยดาวเทียมให้พ้นวงโคจรของโลก ต้องใช้ความเร่งมากกว่าค่าดังกล่าว
คือประมาณ 11 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

ย้ำนะครับ ความเร่ง ไม่ใช่ความเร็ว
บันทึกการเข้า

ก็คือว่า ควาเร็ว(สมมุติเป็นไอพ่น)จะเท่าไรก็ได้  คือว่าถ้ามันไปของมันได้เรื่อยๆ สุดท้ายมันกจะ็ออกมาพ้นโลก ใช่ไหมครับ
แต่ถ้ายิงหนังสะติ๊ก ก็ต้องประมาณ 11 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

ใช่ไหมครับผม

งงแฮะ  ไม่ล่ะ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 13 ก.ย. 2008, 14:25 น. โดย ศิษย์มีครู » บันทึกการเข้า

ในหมู่คนตาบอด คนตาบอดข้างเดียวได้เป็นราชา
ขอแก้เพิ่มเติมนิดนึงครับ เรื่องการปล่อยดาวเทียมออกจากโลก
อ่านเจอหน้าแรกๆ แล้วมันติดใจอยู่นิดหน่อย

โลกเรามีความเร่งที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงกระทำต่อวัตถุที่ค่าประมาณคือ 9.9 กว่าๆ เมตร ต่อวินาทีกำลังสอง
เพราะฉะนั้น การจะปล่อยดาวเทียมให้พ้นวงโคจรของโลก ต้องใช้ความเร่งมากกว่าค่าดังกล่าว
คือประมาณ 11 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

ย้ำนะครับ ความเร่ง ไม่ใช่ความเร็ว

11 กิโลเมตรต่อวินาที ครับ  ลันล้า
กล่าวคือ ถ้าใครสักคนเบื่อโลก แล้วสามารถกระโดดได้ด้วยอัตราความเร่ง
11 กิโลเมตรต่อวินาที ก็หนีพ้นโลกแล้ว
ส่วนดาวเทียม นี่คือการปาของไปในวงโคจรค้างฟ้า
ระยะที่ทำให้ดาวเทียมที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเชิงมุม
เท่ากันกับการหมุนของโลกแล้วทำให้เกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
มีค่าพอดีกับค่าแรงดึงดูดของโลกพอดี
เป็นผลให้ดาวเทียมดูเหมือนคงอยู่กับที่ โคจรไปรอบโลก
เดี๋ยวนี้ใช้ความสูงจากพื้นโลกต่ำกว่านั้นแล้วครับ จะได้ไม่เป็นขยะเมื่อหมดอายุการใช้งาน

40,320 km/h หรือ 11.2 km/s ตั้งฉากกับพื้น เราเรียกว่า ความเร็วหลุดพ้น
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 13 ก.ย. 2008, 14:36 น. โดย แน็ก » บันทึกการเข้า

ไม่ว่าคุณจะรอบรู้ เก่งกาจ กล้าหาญ เท่าไหร่ ก็ไม่มีค่าอะไร ถ้าไม่มีใครรักคุณ
งงน่ะครับ แบบว่า ตอนเริ่มต้น จรวดมันจะวิ่งช้าๆก่อนใช่ไหม
แล้วจรวดมันก็ไม่เร็วถึง 11 กิโลต่อวินาทีด้วยนี่ครับ

คือว่าไอ้ความเร่งนี่มันวัดยังไงเหรอครับผม
บันทึกการเข้า

ในหมู่คนตาบอด คนตาบอดข้างเดียวได้เป็นราชา

ความเร็ว = ระยะทาง/ เวลา  หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที อะไรประมาณนี้
ความเร่ง = ความเร็ว/ เวลา หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2 ครับ
บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย
ความเร็ว = ระยะทาง/ เวลา  หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที อะไรประมาณนี้
ความเร่ง = ความเร็ว/ เวลา หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2 ครับ


ยังงงอยู่ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 13 ก.ย. 2008, 15:04 น. โดย ศิษย์มีครู » บันทึกการเข้า

ในหมู่คนตาบอด คนตาบอดข้างเดียวได้เป็นราชา
เข้าใจว่าเราหาความเร่งได้จากการคำนวณนะคะ
ความเร่งคือผลต่างของความเร็วต่อผลต่างของความเร่ง

เอ เท่ากับ เดลต้าวีส่วนเดลต้าที

รู้เดลต้าวี เดลต้าที ก็คำนวณหา accelerator ออกมาได้
บันทึกการเข้า

ที่สุดถ้ามันจะไม่คุ้ม
แต่มันก็ดีที่อย่างน้อยได้จดจำ
ว่าครั้งนึงเคยก้าวไป...
ใช่แล้วครับ เอ พูดถูกเลย

งั้นผมขอเสริมแบบบ้านๆให้ เผื่อใครจินตนาการไม่ออก

ความเร็วของจรวด อาจไม่ถึง 11.2 km/s
แต่อัตราความเร่งต่อเวลาที่ผ่านไป มีค่า 11.2km/s^2 ครับ

เสียวคนเอาสมการคณิตศาสตร์มาโพสจัง
อย่าลืมนะครับ ไอสไตล์บอกไว้ว่า
"จินตนาการอยู่เหนือความรู้" และ "คนส่วนใหญ่พยายามบิดเบือนฟิสิกส์ด้วยคณิตศาสตร์"
การอธิบายฟิสิกส์จริงๆต้องอยู่ในภาษาที่ง่ายเพื่อให้เห็นภาพในจินตนาการชัดเจนที่สุด

 หมีโหด~
บันทึกการเข้า

ไม่ว่าคุณจะรอบรู้ เก่งกาจ กล้าหาญ เท่าไหร่ ก็ไม่มีค่าอะไร ถ้าไม่มีใครรักคุณ


ยังงี้พวก pure Math แย้งตายเลยครับ

ว่าฟิสิกส์นะมาจาก Math
บันทึกการเข้า

เราจะต้องการอะไรมากมายไปกว่า อะไรมากมาย
ครับ เอ แต่เราไม่ได้มาเรียนเพื่อต่อยอดให้แก่เยาชนรุ่นต่อไป
เราเอาความเข้าใจมาแสดงต่อกัน
คณิตศาสตร์ ในฟิสิกส์มีไว้ทดสอบสมมุติฐานที่ได้จากจินตนาการ
แต่ถ้าเข้าใจแล้ว ก็เล่าสู่กันฟังง่ายๆได้เลย

ตอนเรียนเราเรียนเพื่อให้เข้าใจครับ ไม่ใช่เพื่อเอาไปถ่ายทอดว่าเรียนอะไรมา
ทำให้เข้าใจง่ายๆ คือหัวใจหลัก
บันทึกการเข้า

ไม่ว่าคุณจะรอบรู้ เก่งกาจ กล้าหาญ เท่าไหร่ ก็ไม่มีค่าอะไร ถ้าไม่มีใครรักคุณ
ความเร่งมันก็คือความเร็วที่เพิ่มขึ้นใช่ไหมครับผม
บันทึกการเข้า

ในหมู่คนตาบอด คนตาบอดข้างเดียวได้เป็นราชา
แหม เร่ง กับ เร็ว นะเหรอ

 ลองนึกถึงรถยนต์แล้วกัน เราอยากให้เร็วสัก100km/h มันไม่ทันทีทันใดไง
เราก็ต้องเหยียบคันเร่งใช่มะ และรถก็ไม่ได้เป็น100km/h ทันที
นั้นแหละ เร่ง เราต้องเร่งมันก่อน

เร่ง นี่เป็น เร็วและเวลา เกี่ยวเนื่องกัน ขึ้นลงได้
บันทึกการเข้า

ไม่ว่าคุณจะรอบรู้ เก่งกาจ กล้าหาญ เท่าไหร่ ก็ไม่มีค่าอะไร ถ้าไม่มีใครรักคุณ
ความเร่งคือความเร็วที่เปลี่ยนไปในเวลา 1 วินาที
ถูกมั้ยครับ งง

เช่น รถตอนแรกวิ่งความเร็ว 20 m/s คงที่ไปเรื่อยๆ ความเร่งจะเป็น 0 ครับ (ความเร็วไม่ได้เปลี่ยนไปเลย)
แต่ถ้าจะวิ่งจาก 20 เป็น 30 จะต้องมีความเร่งครับ (เพราะความเร็วต้องเปลี่ยน)
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 [8] 9
 
 
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006-2007, Simple Machines | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!